คำตอบที่ 111
งูสิงเป็นงูชนิดหนึ่งมีแยกย่อยหลายสายพันธุ์มีทั้งแบบมีพิษและไม่มีพิษ แต่ส่วนใหญ่แล้วไม่มีพิษโดยมีชื่อสามัญว่า Ptyas korros
สิงหางดำ(งูบองหมาบควาย) สัตวเลื้อนคลาน
Keeled Rat Snake
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ptyas carinatus
--------------------------------------------------------------------------------
ลักษณะทั่วไป
งูสิงหางดำเป็นงูสิงที่ใหญ่ที่สุด ยาว 375 เซนติเมตร สีจะผันแปรตั้งแต่เขียวเข้มจนถึงดำ มีลายสีเหลืองพาดขวางลำตัว ส่วนหลังจะมีสีเหลืองสลับดำลักษณะคล้ายตาข่าย หางสีเหลืองจุดดำ ใต้ท้องสีขาว ตาดำกลมโต ลักษณะเกล็ดใหญ่คล้ายของงูจงอางมาก
ถิ่นอาศัย, อาหาร
พบได้ตั้งแต่ประจวบคีรีขันธ์ จนถึงใต้สุดพบในมาเลเซีย สิงค์โปร์
อาหารได้แก่สัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่น หนู กบ
พฤติกรรม, การสืบพันธุ์
ชอบหากินตอนกลางวัน หากินบนต้นไม้
งูสิงหางดำวางไข่ครั้งละ 10 ฟอง
สถานภาพปัจจุบัน
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535
สถานที่ชม
สวนสัตว์นครราชสีมา
สิงหางดำ(งูบองหมาบควาย) สัตวเลื้อนคลาน
Keeled Rat Snake
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ptyas carinatus
--------------------------------------------------------------------------------
ลักษณะทั่วไป
งูสิงหางดำเป็นงูสิงที่ใหญ่ที่สุด ยาว 375 เซนติเมตร สีจะผันแปรตั้งแต่เขียวเข้มจนถึงดำ มีลายสีเหลืองพาดขวางลำตัว ส่วนหลังจะมีสีเหลืองสลับดำลักษณะคล้ายตาข่าย หางสีเหลืองจุดดำ ใต้ท้องสีขาว ตาดำกลมโต ลักษณะเกล็ดใหญ่คล้ายของงูจงอางมาก
ถิ่นอาศัย, อาหาร
พบได้ตั้งแต่ประจวบคีรีขันธ์ จนถึงใต้สุดพบในมาเลเซีย สิงค์โปร์
อาหารได้แก่สัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่น หนู กบ
พฤติกรรม, การสืบพันธุ์
ชอบหากินตอนกลางวัน หากินบนต้นไม้
งูสิงหางดำวางไข่ครั้งละ 10 ฟอง
สถานภาพปัจจุบัน
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535
สถานที่ชม
สวนสัตว์นครราชสีมา
สิงหางดำ(งูบองหมาบควาย) สัตวเลื้อนคลาน
Keeled Rat Snake
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Ptyas carinatus
--------------------------------------------------------------------------------
ลักษณะทั่วไป
งูสิงหางดำเป็นงูสิงที่ใหญ่ที่สุด ยาว 375 เซนติเมตร สีจะผันแปรตั้งแต่เขียวเข้มจนถึงดำ มีลายสีเหลืองพาดขวางลำตัว ส่วนหลังจะมีสีเหลืองสลับดำลักษณะคล้ายตาข่าย หางสีเหลืองจุดดำ ใต้ท้องสีขาว ตาดำกลมโต ลักษณะเกล็ดใหญ่คล้ายของงูจงอางมาก
ถิ่นอาศัย, อาหาร
พบได้ตั้งแต่ประจวบคีรีขันธ์ จนถึงใต้สุดพบในมาเลเซีย สิงค์โปร์
อาหารได้แก่สัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่น หนู กบ
พฤติกรรม, การสืบพันธุ์
ชอบหากินตอนกลางวัน หากินบนต้นไม้
งูสิงหางดำวางไข่ครั้งละ 10 ฟอง
สถานภาพปัจจุบัน
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535
สถานที่ชม
สวนสัตว์นครราชสีมา