WeekendHobby.com
เครื่องมือในการใช้งาน website =>> สมัครสมาชิก | Login | Logout | เปลี่ยนไอคอนส่วนตัว | เกี่ยวกับเรา | ติดต่อโฆษณา         View stat by Truehits.net


ท่องไปกับนายมะตูม ฉบับ อช.ปางสีดา

จาก นายมะตูม
IP:202.133.139.145

จันทร์ที่ , 1/8/2548
เวลา : 01:14

อ่านแล้ว = ครั้ง
 เก็บเข้ากระทู้ส่วนตัว
แจ้งตรวจสอบกระทู้
 แจ้งลบ
ส่งหาเพื่อน ส่งหาเพื่อน

       หลังจากการงานทีวางแพลนไว้ พังไม่เป็นท่า อารมณ์เวลานั้นไม่อยากทำอะไรแล้ว นั่งงมกับชีวิตตัวเองพักใหญ่ สุดท้ายให้คำตอบตัวเองว่า หาที่นอนเล่นในป่าดีกว่า ทีนี้จะไปไหนละ มองที่ใกล้ๆตัว เช่นเขาใหญ่ ก็คนเยอะ และอีกหลายๆที่ จนกลัวว่ามันจะไม่สงบ

หาข้อมูลในเน็ทอยู่พักใหญ่ จนได้เป้าหมาย ก็คือที่นี่ อช.ปางสีดา ไปแล้วไม่ผิดหวังครับ สงบดี ธรรมชาติบริสุทธิ์

มาสิครับ ผมจะพาไป






 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

แจ้งเพื่อเก็บขึ้นกระทู้พิเศษ คลิ๊กที่นี่แจ้งเพื่อนำขึ้นกระทู้พิเศษ

คำตอบแบ่งหน้าละ 30 คำตอบ ขณะนี้คุณอยู่ที่หน้า 2 จาก >>> 1  2  3  

คำตอบที่ 31
       ส่วนของปราสาทหลัก พึ่งดำเนินการเสร็จสิ้นในส่วนรากฐาน และกำลังดำเนินการประกอบตัวปราสาทให้กลับมาอยู่ในสภาพดังเดิม





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 20:59  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31816

คำตอบที่ 32
       คำว่าสด๊กก๊อกธม เป็นภาษาถิ่น ที่นำมาใช้เรียกชื่อปราสาทตามลักษณะที่พบในครั้งแรก ไม่ใช่ชื่อจริงๆของปราสาท คำว่าสด๊ก= รก ก๊อก=ต้นกก ธม=ใหญ่ ลองผสมดูเอาเองแล้วกัน ส่วนชื่อจริงผมจำไม่ได้แล้วครับ





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:03  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31817

คำตอบที่ 33
       เดินไปได้สักพัก ฝนก็มาไล่ จนต้องโดดขึ้นรถ แวบไปแลๆที่ตลาดโรงเกลือ ดูแล้วผิดหวังครับ ข้าวของไม่ถูกอย่างที่คิด ถ้าคิดว่าจะมาซื้อของถูกที่นี่ผมไม่แนะนำนะครับ ไปเดินจตุจักรยังดีกว่า แต่ถ้ามาเที่ยวแถวนี้แล้วแวะมาก็ว่าไปอย่าง หรือถ้าจะมาหาของประเภทมือสอง เช่นเสื้อ หรือรองเท้า ก็น่าจะเป็นแหล่งสำคัญที่น่ามามองหา ที่นี่ผมไม่ได้ถือกล้องลงไปด้วยเนื่องจากแวะไม่นาน ขากลับวิ่งเข้ากรุงเทพ เส้นทางกบินทร์-ฉะเชิงเทรา เห็นป้ายนี้เลยแวะเข้าไปดู





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:10  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31818

คำตอบที่ 34
       แวะเข้าไปชิมขนมเปี๊ยแล้วอดไม่ได้ต้องหิ้วติดมือกลับมา พอดีในร้านเขาห้ามถ่ายรูปเลยไม่ได้รูปภายในมาให้ดู มีแต่ภายนอก เขาสร้างไว้น่าดูเหมือนกัน





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:12  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31819

คำตอบที่ 35
       ลองดูแล้วกัน





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:14  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31820

คำตอบที่ 36
       ทริปนี้คงต้องจบลงตรงนี้ แล้วเดี๋ยวจะเอาข้อมูลของอช.ปางสีดา มาให้ ใครสนใจ ลองแวะไปดูนะครับ UNSEEN THAILAND ไม่ไปไม่รู้นะครับ

งบประมาณการเดินทางคร้งนี้

ค่าน้ำมันไปกลับ (ประมาณ) 1,000 บาท (เบนซิน 91 พอดียังไม่ได้รวมบิล)
ค่าอาหาร 3 มื้อ รวมขนมขบเคี้ยว (ประมาณ) 500 บาท(ซื้อของสดที่ตลาดสระแก้ว)
ค่ากางเต็นท์ที่อช. 2 คน 60 บาท และอื่นๆอีกเล็กน้อยจำไม่ได้แล้ว





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:22  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31821

คำตอบที่ 37
       ข้อมูลทั่วไป

อุทยานแห่งชาติปางสีดา มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอตาพระยา อำเภอวัฒนานคร อำเภอเมืองจังหวัดสระแก้ว และอำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและมีค่า มีสภาพธรรมชาติและเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง เช่น น้ำตกปางสีดา น้ำตกผาตะเคียน น้ำตกแควมะค่า จุดชมวิว โขดหินตามลำน้ำที่มีลักษณะแปลกๆ มีเนื้อที่ประมาณ 527,500 ไร่ หรือ 844 ตารางกิโลเมตร

เดิมบริเวณน้ำตกปางสีดา เป็นหน่วยงานหนึ่งในโครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นโครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการที่จะจัดป่าในบริเวณให้เป็นสถานที่สำหรับพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวทั่วไป อีกทั้งยังเป็นการรักษาป่าต้นน้ำลำธารและสภาพป่าโดยรอบ กรมป่าไม้จึงได้ส่งเจ้าหน้าที่ออกดำเนินการสำรวจและจัดตั้งเป็นวนอุทยาน ชื่อว่า “วนอุทยานปางสีดา” เมื่อปี พ.ศ. 2521 อยู่ในความดูแลของสำนักงานป่าไม้จังหวัดปราจีนบุรี มีนายเดชา พงษ์พานิช นักวิชาการป่าไม้ 3 ทำหน้าที่หัวหน้าวนอุทยาน

ต่อมาได้มีการสำรวจพื้นที่โดยรอบที่มีเขตติดต่อกันปรากฏว่า บริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและมีค่า เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า และทิวทัศน์ที่สวยงาม สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเชาสูงชันสลับซับซ้อน มีน้ำตกหลายแห่ง เช่น น้ำตกปางสีดา น้ำตกนาโตร น้ำตกผาน้อย และยังเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำบางประกง ซึ่งเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรรมในภาคตะวันออก สมควรดำเนินการให้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือวนอุทยานปางสีดา ที่ กส 07008(ปด)/22 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2523 เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติดั้งเดิมไว้ เพื่อประโยชน์ในการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อการศึกษาค้นคว้าของประชาชนส่วนรวม ทั้งเป็นการสนองมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2522 ที่ให้พิจารณาจัดตั้งอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าให้เป็นการเพียงพอ ต่อมาจึงได้โอนความรับผิดชอบมาให้กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ เป็นผู้ดำเนินการจัดตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติ

กองอุทยานแห่งชาติได้นำรายงานการสำรวจเบื้องต้นและข้อคิดเห็น เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมีมติในการประชุม ครั้งที่ 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าแก่งดินสอ ป่าแก่งใหญ่ ป่าเขาสะโตน และป่าท่ากระบาก ในท้องที่ตำบลแก่งดินสอ อำเภอนาดี ตำบลบ้านแก่ง ตำบลโคกปี่ฆ้อง ตำบลท่าแยก อำเภอสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว และตำบลหนองน้ำใส ตำบลช่องกุ่ม อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 24 ลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 41 ของประเทศไทย





ลักษณะภูมิประเทศ

สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่ของอุทยานแห่งชาติปางสีดา เป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน และเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งทอดยาวมาจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทับลานไปยังอุทยานแห่งชาติตาพระยาจรดประเทศกัมพูชา โดยมีความลาดชันจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 50 - 878 เมตร มียอดเขาใหญ่เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด เทือกเขาเหล่านี้เป็นต้นกำเนิดของลำห้วยลำธารหลายสาย เช่น ห้วยชมพู ห้วยสวนน้ำหอม ห้วยสาริกา ห้วยวังมืด และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำบางปะกง



ลักษณะภูมิอากาศ

มีสภาพภูมิอากาศเป็นแบบฝนเมืองร้อน อากาศแห้งแล้งและชุ่มชื้นสลับกัน ในฤดูมรสุมจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดผ่าน ทำให้ลักษณะอากาศเป็นแบบชุ่มชื้น และมีฝนตลอดฤดูกาล แต่ในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือฤดูหนาวจะมีอากาศแห้งแล้ง ฤดูร้อน เริ่มต้นแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 28 องศาเซลเซียส



พืชพรรณและสัตว์ป่า

อุทยานแห่งชาติปางสีดา ครอบคลุมไปด้วยพื้นที่ป่าประมาณร้อยละ 95 ประกอบไปด้วย
ป่าดิบชื้น พบทั่วไปในเขตอุทยานแห่งชาติ บริเวณพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 400-1.000 เมตร ไม้ที่พบอยู่ทั่วไป ได้แก่ ยางกล่อง ยางขน ยางเสี้ยน กระบาก ยางปาย เคี่ยมคะนอง ทะโล้ จำปีป่า พะอง ก่อน้ำ ก่อเดือย ฯลฯ ไม้พุ่มมีหลายชนิด เช่น ส้มกุ้ง ข้าวสารหลวง ชะโอน คานหามเสือ เป็นต้น ส่วนบริเวณฝั่งลำธารจะมีพวก ลำพูป่า กระทุ่ม มหาสะดำ กูดพร้าว ละอองไฟฟ้า พืชอิงอาศัยที่พบโดยทั่วไปได้แก่ กระปอกเล็ก ชายผ้าสีดา กูดอ้อม เอื้องกุหลาบพวง และเอื้องปากเป็ด เป็นต้น

ป่าดิบแล้ง พบขึ้นในบริเวณพื้นที่ค่อนข้างราบสูง จากระดับน้ำทะเล 100-400 เมตร ไม้ที่พบขึ้นอยู่ทั่วไป ได้แก่ ยางนา ยางแดง สะเดาปัก ตะเคียนทอง มะค่าโมง ตาเสือ หมากนางลิง ลาน ฯลฯ พืชชั้นล่าง เช่น พืชในสกุลขิงข่า กระเจียว และกล้วยป่า เป็นต้น

ป่าดิบเขา พบในบริเวณที่มีอากาศเย็นบนภูเขาที่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป ไม้ที่พบขึ้นอยู่ทั่วไป ได้แก่ พญาไม้ มะขามป้อมดง สนสามพันปี ก่อน้ำ ก่อด่าง กำลังเสือโคร่ง ฯลฯ พืชชั้นล่างเป็นพวกไม้พุ่มชนิดต่างๆ เช่น กาลังกาสาตัวผู้ กล้วยไม้ดิน หญ้าข้าวกล่ำ สามร้อยยอด เป็นต้น

ป่าเบญจพรรณ ชนิดของไม้ที่ขึ้นอยู่ ได้แก่ มะค่าโมง ซ้อ ประดู่ ตะแบกใหญ่ ตีนนก สมอพิเภก กว้าว ฯลฯ พืชชั้นล่าง ได้แก่ ไผ่ป่า และหญ้าต่างๆ และ (5) ป่าเต็งรัง พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง มะขามป้อม รกฟ้า ฯลฯ พืชพื้นล่างเป็นพวกหญ้าเพ็ก และหญ้าคา

ด้วยสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และลักษณะภูมิประเทศทำให้บริเวณนี้เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารหลายสายเหมาะสมที่จะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า จึงมีสัตว์ป่าที่มีขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็ก รวมทั้งนกไม่ต่ำกว่า 200 ชนิด อาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไป สัตว์ป่าที่พบได้แก่ ช้าง กระทิง วัวแดง เสือโคร่ง เก้ง กวางป่า กระจง ชะนีมงกุฎ นากเล็กเล็บสั้น เม่นแผงคอใหญ่ ค้างคาวปีกขน ไก่ฟ้าพญาลอ นกยางเขียว นกพญาปากกว้างอกสีเงิน นกแต้วแล้วธรรมดา นกเด้าดิน ตะกอง กิ้งก่าบิน ตะกวด เขียดตาปาด เขียดทราย อึ่งแม่หนาว เป็นต้น บริเวณลำห้วยลำธารต่างๆ เช่น ห้วยน้ำเย็น ห้วยโสมง ห้วยพลับพลึง พบปลาชนิดต่างๆ ได้แก่ ปลาสร้อยนกเขา ปลาชะโอน ปลาค้อ ปลากดเหลือง ปลาดัก ปลาแค้ขี้หมู ปลาดุก ปลาก้าง และปลากระทิงดำ เป็นต้น


รายละเอียดเพิ่มเติม เชิญที่นี่ครับhttp://www.dnp.go.th/parkreserve/asp/style1/default.asp?npid=101&lg=1




 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:33  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31822

คำตอบที่ 38
       ข้อมูลทั่วไป

อุทยานแห่งชาติปางสีดา มีพื้นที่ครอบคลุมท้องที่อำเภอตาพระยา อำเภอวัฒนานคร อำเภอเมืองจังหวัดสระแก้ว และอำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและมีค่า มีสภาพธรรมชาติและเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง เช่น น้ำตกปางสีดา น้ำตกผาตะเคียน น้ำตกแควมะค่า จุดชมวิว โขดหินตามลำน้ำที่มีลักษณะแปลกๆ มีเนื้อที่ประมาณ 527,500 ไร่ หรือ 844 ตารางกิโลเมตร

เดิมบริเวณน้ำตกปางสีดา เป็นหน่วยงานหนึ่งในโครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นโครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการที่จะจัดป่าในบริเวณให้เป็นสถานที่สำหรับพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวทั่วไป อีกทั้งยังเป็นการรักษาป่าต้นน้ำลำธารและสภาพป่าโดยรอบ กรมป่าไม้จึงได้ส่งเจ้าหน้าที่ออกดำเนินการสำรวจและจัดตั้งเป็นวนอุทยาน ชื่อว่า “วนอุทยานปางสีดา” เมื่อปี พ.ศ. 2521 อยู่ในความดูแลของสำนักงานป่าไม้จังหวัดปราจีนบุรี มีนายเดชา พงษ์พานิช นักวิชาการป่าไม้ 3 ทำหน้าที่หัวหน้าวนอุทยาน

ต่อมาได้มีการสำรวจพื้นที่โดยรอบที่มีเขตติดต่อกันปรากฏว่า บริเวณดังกล่าวมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและมีค่า เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า และทิวทัศน์ที่สวยงาม สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเชาสูงชันสลับซับซ้อน มีน้ำตกหลายแห่ง เช่น น้ำตกปางสีดา น้ำตกนาโตร น้ำตกผาน้อย และยังเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำบางประกง ซึ่งเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรรมในภาคตะวันออก สมควรดำเนินการให้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ตามหนังสือวนอุทยานปางสีดา ที่ กส 07008(ปด)/22 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2523 เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติดั้งเดิมไว้ เพื่อประโยชน์ในการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อการศึกษาค้นคว้าของประชาชนส่วนรวม ทั้งเป็นการสนองมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2522 ที่ให้พิจารณาจัดตั้งอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าให้เป็นการเพียงพอ ต่อมาจึงได้โอนความรับผิดชอบมาให้กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ เป็นผู้ดำเนินการจัดตั้งให้เป็นอุทยานแห่งชาติ

กองอุทยานแห่งชาติได้นำรายงานการสำรวจเบื้องต้นและข้อคิดเห็น เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซึ่งมีมติในการประชุม ครั้งที่ 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินป่าแก่งดินสอ ป่าแก่งใหญ่ ป่าเขาสะโตน และป่าท่ากระบาก ในท้องที่ตำบลแก่งดินสอ อำเภอนาดี ตำบลบ้านแก่ง ตำบลโคกปี่ฆ้อง ตำบลท่าแยก อำเภอสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว และตำบลหนองน้ำใส ตำบลช่องกุ่ม อำเภอวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ โดยประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 24 ลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 41 ของประเทศไทย





ลักษณะภูมิประเทศ

สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่ของอุทยานแห่งชาติปางสีดา เป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน และเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งทอดยาวมาจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทับลานไปยังอุทยานแห่งชาติตาพระยาจรดประเทศกัมพูชา โดยมีความลาดชันจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 50 - 878 เมตร มียอดเขาใหญ่เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด เทือกเขาเหล่านี้เป็นต้นกำเนิดของลำห้วยลำธารหลายสาย เช่น ห้วยชมพู ห้วยสวนน้ำหอม ห้วยสาริกา ห้วยวังมืด และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำบางปะกง



ลักษณะภูมิอากาศ

มีสภาพภูมิอากาศเป็นแบบฝนเมืองร้อน อากาศแห้งแล้งและชุ่มชื้นสลับกัน ในฤดูมรสุมจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดผ่าน ทำให้ลักษณะอากาศเป็นแบบชุ่มชื้น และมีฝนตลอดฤดูกาล แต่ในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือฤดูหนาวจะมีอากาศแห้งแล้ง ฤดูร้อน เริ่มต้นแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม และฤดูหนาว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 28 องศาเซลเซียส



พืชพรรณและสัตว์ป่า

อุทยานแห่งชาติปางสีดา ครอบคลุมไปด้วยพื้นที่ป่าประมาณร้อยละ 95 ประกอบไปด้วย
ป่าดิบชื้น พบทั่วไปในเขตอุทยานแห่งชาติ บริเวณพื้นที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 400-1.000 เมตร ไม้ที่พบอยู่ทั่วไป ได้แก่ ยางกล่อง ยางขน ยางเสี้ยน กระบาก ยางปาย เคี่ยมคะนอง ทะโล้ จำปีป่า พะอง ก่อน้ำ ก่อเดือย ฯลฯ ไม้พุ่มมีหลายชนิด เช่น ส้มกุ้ง ข้าวสารหลวง ชะโอน คานหามเสือ เป็นต้น ส่วนบริเวณฝั่งลำธารจะมีพวก ลำพูป่า กระทุ่ม มหาสะดำ กูดพร้าว ละอองไฟฟ้า พืชอิงอาศัยที่พบโดยทั่วไปได้แก่ กระปอกเล็ก ชายผ้าสีดา กูดอ้อม เอื้องกุหลาบพวง และเอื้องปากเป็ด เป็นต้น

ป่าดิบแล้ง พบขึ้นในบริเวณพื้นที่ค่อนข้างราบสูง จากระดับน้ำทะเล 100-400 เมตร ไม้ที่พบขึ้นอยู่ทั่วไป ได้แก่ ยางนา ยางแดง สะเดาปัก ตะเคียนทอง มะค่าโมง ตาเสือ หมากนางลิง ลาน ฯลฯ พืชชั้นล่าง เช่น พืชในสกุลขิงข่า กระเจียว และกล้วยป่า เป็นต้น

ป่าดิบเขา พบในบริเวณที่มีอากาศเย็นบนภูเขาที่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป ไม้ที่พบขึ้นอยู่ทั่วไป ได้แก่ พญาไม้ มะขามป้อมดง สนสามพันปี ก่อน้ำ ก่อด่าง กำลังเสือโคร่ง ฯลฯ พืชชั้นล่างเป็นพวกไม้พุ่มชนิดต่างๆ เช่น กาลังกาสาตัวผู้ กล้วยไม้ดิน หญ้าข้าวกล่ำ สามร้อยยอด เป็นต้น

ป่าเบญจพรรณ ชนิดของไม้ที่ขึ้นอยู่ ได้แก่ มะค่าโมง ซ้อ ประดู่ ตะแบกใหญ่ ตีนนก สมอพิเภก กว้าว ฯลฯ พืชชั้นล่าง ได้แก่ ไผ่ป่า และหญ้าต่างๆ และ (5) ป่าเต็งรัง พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง มะขามป้อม รกฟ้า ฯลฯ พืชพื้นล่างเป็นพวกหญ้าเพ็ก และหญ้าคา

ด้วยสภาพป่าอันอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้และลักษณะภูมิประเทศทำให้บริเวณนี้เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารหลายสายเหมาะสมที่จะเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า จึงมีสัตว์ป่าที่มีขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็ก รวมทั้งนกไม่ต่ำกว่า 200 ชนิด อาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไป สัตว์ป่าที่พบได้แก่ ช้าง กระทิง วัวแดง เสือโคร่ง เก้ง กวางป่า กระจง ชะนีมงกุฎ นากเล็กเล็บสั้น เม่นแผงคอใหญ่ ค้างคาวปีกขน ไก่ฟ้าพญาลอ นกยางเขียว นกพญาปากกว้างอกสีเงิน นกแต้วแล้วธรรมดา นกเด้าดิน ตะกอง กิ้งก่าบิน ตะกวด เขียดตาปาด เขียดทราย อึ่งแม่หนาว เป็นต้น บริเวณลำห้วยลำธารต่างๆ เช่น ห้วยน้ำเย็น ห้วยโสมง ห้วยพลับพลึง พบปลาชนิดต่างๆ ได้แก่ ปลาสร้อยนกเขา ปลาชะโอน ปลาค้อ ปลากดเหลือง ปลาดัก ปลาแค้ขี้หมู ปลาดุก ปลาก้าง และปลากระทิงดำ เป็นต้น


รายละเอียดเพิ่มเติม เชิญที่นี่ครับhttp://www.dnp.go.th/parkreserve/asp/style1/default.asp?npid=101&lg=1




 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:37  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31823

คำตอบที่ 39
       เส้นทางท่องเที่ยวในอช.ปางสีดา





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก นายมะตูม 203.118.84.203 อังคาร, 2/8/2548 เวลา : 21:39  IP : 203.118.84.203   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31824

คำตอบที่ 40
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก Gio 202.183.225.4 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 08:53  IP : 202.183.225.4   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31848

คำตอบที่ 41
      





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

allband จาก ALLBand 61.91.80.149 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 09:06  IP : 61.91.80.149   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31849

คำตอบที่ 42
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก Kai 202.91.23.1 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 09:19  IP : 202.91.23.1   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31850

คำตอบที่ 43
      





 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก www 221.128.104.62 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 14:02  IP : 221.128.104.62   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31866

คำตอบที่ 44
       Thank you very much



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

ferrari จาก ferrari man 61.91.173.134 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 14:48  IP : 61.91.173.134   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31902

คำตอบที่ 45
      
ขอบคุณสำหรับรูปสวยๆ แล้วก็ข้อมูลนะครับ...นี่ขนาดรถเตี้ยๆนะนี่...ถ้าเป็น Ranger หรือว่าขับสี่ละก็...สงสัยได้ดูรูปสวยๆอีกหลายที่แน่ๆ



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

pongtorn จาก ปลัด 203.152.48.185 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 15:56  IP : 203.152.48.185   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31914

คำตอบที่ 46
       น้า..บรรยากาศคล้ายๆกับเขาพะเนินทุ่งเลย โดยเฉพาะจุดชมวิว และแผนที่ เอาไว้ผมต้องไปให้ได้ซะแล้ว



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก ตึ๋ง 203.155.164.66 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 20:00  IP : 203.155.164.66   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31941

คำตอบที่ 47
       รายละเอียดดีครับ ขอบคุณสำหรับภาพถ่ายและข้อมูล



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

นายMOP JUC(Original) จาก นายMOP JUC(Original) 58.8.251.236 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 20:46  IP : 58.8.251.236   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31943

คำตอบที่ 48
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก วัวแดง 58.10.250.228 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 20:49  IP : 58.10.250.228   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31945

คำตอบที่ 49
       เดี๋ยวมีโอกาสจะไปเยือนบ้างครับ



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก shyrobber 203.188.7.156 พุธ, 3/8/2548 เวลา : 20:51  IP : 203.188.7.156   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31946

คำตอบที่ 50
       อิจฉาพี่โม ได้ไปชาร์ทไฟบ่อยๆ ... ผมน่ะไฟจะมอด ลมจะหมดแล้วครับ



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

mike จาก Tao ... q|||||p 203.145.27.223 พฤหัสบดี, 4/8/2548 เวลา : 01:34  IP : 203.145.27.223   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31951

คำตอบที่ 51
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก Jindee 136.8.1.100 พฤหัสบดี, 4/8/2548 เวลา : 09:57  IP : 136.8.1.100   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 31954

คำตอบที่ 52
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

Riggs จาก Riggs 203.151.140.118 อาทิตย์, 7/8/2548 เวลา : 09:52  IP : 203.151.140.118   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 32077

คำตอบที่ 53
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก ทรื 61.7.142.122 เสาร์, 10/6/2549 เวลา : 11:57  IP : 61.7.142.122   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 39514

คำตอบที่ 54
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก ทรื 61.7.142.122 เสาร์, 10/6/2549 เวลา : 11:59  IP : 61.7.142.122   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 39515

คำตอบที่ 55
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก mint 61.7.142.122 เสาร์, 10/6/2549 เวลา : 11:59  IP : 61.7.142.122   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 39516

คำตอบที่ 56
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก mint 61.7.142.122 เสาร์, 10/6/2549 เวลา : 12:00  IP : 61.7.142.122   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 39517

คำตอบที่ 57
      



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก mint 61.7.142.122 เสาร์, 10/6/2549 เวลา : 12:00  IP : 61.7.142.122   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 39518

คำตอบที่ 58
       ปัจจุบันกรมศิลปากร ได้เข้ามาบูรณะตั้งแต่ปี 47 โดยมีกำหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์ใน 52 ซึ้งตอนนี้ก็มีบางส่วนเสร็จไปบ้างแล้ว



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก ด.ช. อัครเดช ใบชา 124.157.212.35 อังคาร, 7/8/2550 เวลา : 11:46  IP : 124.157.212.35   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 45556

คำตอบที่ 59
       ปัจจุบันกรมศิลปากร ได้เข้ามาบูรณะตั้งแต่ปี 47 โดยมีกำหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์ใน 52 ซึ้งตอนนี้ก็มีบางส่วนเสร็จไปบ้างแล้ว



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก ด.ช. อัครเดช ใบชา 124.157.212.35 อังคาร, 7/8/2550 เวลา : 11:47  IP : 124.157.212.35   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 45557

คำตอบที่ 60
       ปัจจุบันกรมศิลปากร ได้เข้ามาบูรณะตั้งแต่ปี 47 โดยมีกำหนดแล้วเสร็จสมบูรณ์ใน 52 ซึ้งตอนนี้ก็มีบางส่วนเสร็จไปบ้างแล้ว



 แสดงความคิดเห็นย่อย แสดงความคิดเห็นย่อย

จาก ด.ช. อัครเดช ใบชา 124.157.212.35 อังคาร, 7/8/2550 เวลา : 11:47  IP : 124.157.212.35   

edit แก้ไขคำตอบ   delete ลบคำตอบ 45558

      

ยังมีคำตอบมากกว่านี้นะครับ คลิ๊กเพื่อดูหน้าถัดไป


คำตอบแบ่งหน้าละ 30 คำตอบ ขณะนี้คุณอยู่ที่หน้า 2 จาก >>> 1  2  3  



website รองรับการใช้งานทุกระบบปฏิบัติการของ PC Tablet SmartPhone ทุกระบบสามารถโพสข้อความและรูปภาพได้โดยไม่ต้องย่อไฟล์
เพื่อความปลอดภัยในการใช้ website WeekendHobby.Com สมาชิก เท่านั้น จึงจะตั้งกระทู้ หรือ ตอบกระทู้ได้ครับ
Login Click ที่นี่
สมัครสมาชิก Click ที่นี่



Since 22, Feb 2001 hit counter View My Stats  Truehits.net      วันเสาร์,23 พฤศจิกายน 2567 (Online 6369 คน)